ตะกร้าสินค้า

คุณสามารถปรับเปลี่ยนจำนวนสินค้าจากรายการด้านล่างได้

สินค้า ราคา จำนวน ราคารวม
ไม่มีรายการสินค้าที่เลือกไว้

ISBN9789740218449
ปกหนังสืออ่อน
กระดาษIvory
จำนวนหน้า544 หน้า
น้ำหนัก675.00 กรัม
กว้าง14.30 ซม.
สูง21.00 ซม.
หนา2.50 ซม.
พิมพ์ครั้งที่1 : มิถุนายน 2566
สำนักพิมพ์สำนักพิมพ์มติชน

การเมืองและสังคมในศิลปสถาปัตยกรรม สยามสมัย ไทยประยุกต์ ชาตินิยม

ผู้เขียน : ชาตรี ประกิตนนทการ, คำนำเสนอ : สุจิตต์ วงษ์เทศ

ใหม่

'การเมืองและสังคมในศิลปสถาปัตยกรรม สยามสมัย ไทยประยุกต์ ชาตินิยม' ผลงานของ 'ชาตรี ประกิตนนทการ' เล่าปรากฏการณ์ทางสถาปัตยกรรมที่สัมพันธ์กับสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองไทยตั้งแต่ พ.ศ.2394 - พ.ศ.2500

.

ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนชั้นนำสมัยรัชกาลที่ 4 ความเชื่อแบบวิทยาศาสตร์เข้ามาแทนที่โลกทัศน์แบบไตรภูมิ ความต้องการสร้างความศิวิไลซ์ให้ทัดเทียมตะวันตก การปฎิรูปการปกครองภายใต้แนวคิดสมบูรณาญาสิทธิราชย์ วิกฤตอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โหยหาความเป็นไทยและสับสนในการปรับรับรสนิยมอย่างตะวันตกไปพร้อมกัน จนมาถึงความเสมอภาคในระบอบประชาธิปไตย และการหวนกลับมาของกระแสอนุรักษ์นิยมในรัฐบาลจอมพลป. พิบูลสงคราม สมัยที่ 2 ล้วนส่งผลกระทบต่อความคิดของผู้คน สะท้อนสภาพสังคม ความคิดในการออกแบบและสร้างสถาปัตยกรรมทั้งสิ้น

.

เป็นที่น่าสังเกตว่าวัด วัง บ้าน เรือน อาคาร อนุสาวรีย์ และพื้นที่สาธารณะ ที่ปรากฎให้เห็นอยู่ทุกวันนี้ในอยู่ภายใต้ความหมายอุดมการณ์ทางการเมืองแบบใด

สารบัญ 2b4789641c-sarbay-karmeuxng-laea-sangkhm.pdf

ทดลองอ่านได้ที่: https://bit.ly/43zyTAv


รูปอื่นๆ