ทดลองอ่าน : https://bit.ly/3XFbcEW
จะเป็นอย่างไรหาก “สงครามเย็น” ที่เราต่างเข้าใจกันว่าจบสิ้นลงไปแล้วพร้อมกับการทลายกำแพงเบอร์ลินและการล่มสลายของสหภาพโซเวียตเมื่อปลายศตวรรษที่ 20 นั้น กลับไม่เคยสิ้นสุดลงอย่างแท้จริง...
Amidst the Geo-Economic Clashes ไทยในสงครามเย็น 2.0 จะพาผู้อ่านสำรวจสถานการณ์การเมืองโลกร่วมสมัยที่มีความขัดแย้งทั้งในเขตแดนกายภาพและเขตแดนเหนือกายภาพผ่านกรอบการวิเคราะห์อย่างภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเสนอฉากทัศน์การขับเคี่ยวที่เรียกว่า "สงครามเย็น 2.0" ที่ต่างก็นำ "เครื่องมือทางเศรษฐกิจ" มาดำเนินนโยบายการต่างประเทศเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ในฝั่งตน
ท่ามกลางการแบ่งฝักแบ่งฝ่ายและความขัดแย้งทั้งในพื้นเก่า-ใหม่ ก้าวต่อไปของประเทศไทยจึงเป็นคำถามที่ควรขบคิดต่อ
คำนำสำนักพิมพ์
คำนำผู้เขียน
I Introduction to the Geo-Economics
1 ว่าด้วยกรอบการวิเคราะห์ภูมิเศรษฐศาสตร์โลก: เครื่องมือระหว่างประเทศในบริบทใหม่
2 จากสงครามเย็น 1.0 สู่สงครามเย็น 2.0: ภาคต่อของสงครามเย็นที่ไม่สิ้นสุด
II Physical Space Battlefield
3 จากความสัมพันธ์แบบตะวันตก-ตะวันออก สู่ความสัมพันธ์แบบโลกเหนือ-โลกใต้
4 โลกมุสลิมในสมรภูมิสงครามเย็น 2.0
5 แอฟริกา: ดินแดนแห่งทรัพยากรซึ่งนำไปสู่ความขัดแย้งทางภูมิเศรษฐศาสตร์
6 จากภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกสู่พื้นที่ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก: แนวปะทะของพันธมิตรจีน-รัสเซียและสหรัฐอเมริกา
III New Battlefields
7 สมรภูมิโลกคู่ขนาน: จากไซเบอร์สเปซสู่สงครามเทคโนโลยี
8 สมรภูมิเหนือโลก: จากการแข่งขันอวกาศ สู่ข้อตกลงอาร์ทิมิส (Artemis Accord)
9 สมรภูมิขั้วโลก: จากดินแดนไวต์เอาต์ (Whiteout) สู่เส้นทางการค้าและภัยซ่อนเร้น
10 สมรภูมิใต้โลก: จุดเปราะบางบนพื้นดินท้องทะเลระหว่างประเทศ
IV Amidst the Geo-Economic Clashes
11 สงครามเย็น 2.0: จากอดีต สู่อนาคต
12 ไทยในสงครามเย็น 2.0
ดัชนี
ประวัติผู้เขียน