ทดลองอ่านที่ https://joom.ag/fuPC
เรื่องย่อ
หลังการปฏิวัติ 2475 คณะราษฎรดำเนินนโยบายพัฒนาชาติให้เป็นสมัยใหม่ โดยทิ้งแผน "ตะวันตกโมเดล" ของรัฐบาลระบอบเก่าไว้เบื้องหลัง และตามรอย "ญี่ปุ่นโมเดล" มหาอำนาจใหม่ในเอเชีย
การก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำใหม่ในเอเชียของญี่ปุ่นในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ส่งผลให้สังคมไทยมีความตื่นตัวและตื่นเต้นต่อการพัฒนาอันก้าวกระโดดของญี่ปุ่นอย่างมาก ดังเห็นได้จากความสนใจของ ปัญญาชน ข้าราชการ และนักหนังสือพิมพ์มากมายที่ต่างยกให้ญี่ปุ่นเป็นโมเดลในการสร้างชาติ และรัฐบาลคณะราษฎรก็ได้ส่งคนไปดูงานที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นจำนวนมาก
ในขณะเดียวกัน ญี่ปุ่นเวลานั้นก็กำลังมองหาพันธมิตรชาติเอเชีย เพื่อต่อต้านอิทธิพลตะวันตก
เมื่อความต้องการของทั้ง 2 ชาติลงรอยกัน จึงกลายเป็นการสถาปนาความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นระหว่างไทยและญี่ปุ่น อันนำไปสู่การสร้างชาติสมัยใหม่ภายใต้รัฐบาลคณะราษฎร
คำนำเสนอ“เมื่อชนชั้นนำไทย ถวิลหาญี่ปุ่น และ Japanization”
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
๑ บทนำ
๒ เมื่ออาทิตย์ทอแสง :ญี่ปุ่นในฐานะศูนย์อำนาจใหม่ของเอเชีย
- ญี่ปุ่นช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๕ ในสายตาของสามัญชน นักปฏิรูปและนักปฏิวัติไทย
๓ อรุณรุ่งของระบอบประชาธิปไตยไทย ภายใต้ระเบียบเอเชียใหม่
- ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่นภายหลังการปฏิวัติ ๒๔๗๕
- ญี่ปุ่นกับการสนับสนุนระบอบประชาธิปไตยไทย ในช่วงแรกเริ่ม
- ท่าทีของญี่ปุ่นต่อการเยือนของรัฐมนตรีไทย ๕๗
๔ เมื่อสังคมไทยมองไปยังญี่ปุ่น
- หนังสือการเมืองเล่มเล็กกับกระแสตื่นตัวของสังคมไทย
๕ มองตะวันออก :คณะราษฎรทัศนาการพัฒนาประเทศญี่ปุ่น
- คณะราษฎรกับมหาอำนาจใหม่
- เมื่อคณะราษฎรเยือนญี่ปุ่น
- การดูงานกิจการตำรวจญี่ปุ่นของขุนศรีศรากร
- คณะราษฎรสายทหารเรือกับการดูงานการทหารในญี่ปุ่น
- การดูงานการพัฒนาประเทศญี่ปุ่นของหลวงกาจสงคราม
๖ “ญี่ปุ่นกำลังก้าวหน้า สยามจะก้าวตามไม่ได้หรือ” : ความมุ่งหวังของผู้แทนราษฎร
- ผู้แทนราษฎรชุดแรกดูงานการพัฒนาประเทศญี่ปุ่น
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเยือนเกาหลีและแมนจูกัว
๗ การนำเข้าวิทยาการ : เมื่อข้าราชการไทยเยือนญี่ปุ่น
- จากเคนโดถึงโรงเรียนอนุบาล : การดูงานของข้าราชการกระทรวงศึกษาธิการ
- ทหารบกดูงานการทหารแต่เห็นความเข้มแข็ง ทางวัฒนธรรมของญี่ปุ่น
- กองทัพเรือไทยกับการนำเข้าวิทยาการเรือดำน้ำ และการพาณิชย์นาวี
- กองทัพบกกับการนำเข้าวิทยาการทหาร
- นานาวิทยาการจากญี่ปุ่น : กิจการตำรวจ ผังเมือง ศุลกากร วิทยุกระจายเสียง และการแพทย์
๘ “ไชโยนาระ” :นักศึกษาและปัญญาชนเยือนแดนซากุระ
- คณะทูตวัฒนธรรมไทยไปญี่ปุ่น
- กุหลาบ สายประดิษฐ์ ปัญญาชนในแดนซากุระ
- การทัศนศึกษาในญี่ปุ่นของนักศึกษาไทย
- ญี่ปุ่นก่อนสงครามโลกครั้งที่ ๒ ของบุญช่วย ศรีสวัสดิ์
๙ จาก “วิถีทางแห่งรัฐธรรมนูญ” สู่ “สร้างชาติ”
- การก่อตัวของนโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาล ภายหลังการปฏิวัติ ๒๔๗๕
- การเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์และวิทยาการภายในสังคมไทย
- การสร้างความเป็นสมัยใหม่ทางเศรษฐกิจ การสร้างความเป็นสมัยใหม่ทางสังคมและวัฒนธรรม
- “ไทยมหาอำานาจ”การขยายอำนาจทางการทหาร
๑๐ เมื่ออาทิตย์อัสดง