"เขาตายแต่ชื่อยัง แต่ตายอย่างไรยังบอกไม่ได้"
พระเจ้ากรุงธนบุรีทรงเป็นมนุษย์ที่มีกิเลศ
ตัณหา และความสง่างามของการเสียสละอันรุ่งโรจน์
คละเคล้าปะปนกันในการกระทำเหมือนมนุษย์ที่ยิ่งใหญ่อื่นๆ ทรงเป็น
"ชายร่างเล็ก" แต่พระราชประวัติและวีรกรรมของพระองค์ยิ่งใหญ่นัก
เป็นเหตุให้มีผู้แต่งเติมเสริมต่อเรื่องราวของพระองค์ออกไปจนดูราวกับ
"นิยาย" ทั้งๆ ที่สาระสำคัญของพระราชประวัตินั้นนิดเดียว
หนังสือเล่มนี้จะชวนไปสนทนากับประวัติศาสตร์หน้านี้อย่างเข้มข้น
หนังสือประวัติศาสตร์พระเจ้ากรุงธนบุรี
หรือที่ใครหลายคนเรียกว่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กษัตริย์ผู้
"กอบกู้เอกราชของสยาม" จากการเสียกรุงฯ ครั้งที่ 2
เนื้อหานำเสนอประวัติศาสตร์ตั้งต่สภาพภายในของกรุงศรีอยุธยาก่อนที่จะเสียกรุง
ประวัติความเป็นมาของพระเจ้ากรุงธนบุรี ตั้งแต่ชาติกำเนิด การประกอบอาชีพ
การเข้ารับราชการ และการขึ้นมาเป็นผู้นำทางการเมืองในช่วงเสียกรุงฯ
รวมถึงนำเสนอประวัติศาสตร์การเมืองและสังคมในสมัยกรุงธนบุรี
ตลอดจนเหตุการณ์ปราบดาภิเษกของสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก
หนังสือมีการใช้เอกสารร่วมสมัยทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศหลายชิ้น
รวมถึงวิพากษ์หลักฐานที่ดูไม่น่าเชื่อถือ
เพื่อให้ประวัติศาสตร์ของพระเจ้ากรุงธนบุรีมีความเที่ยงตรงและรอบด้านอย่างที่สุด
สารบัญ
คำนำ (เมื่อพิมพ์ครั้งที่สอง)
คำนำ
(เมื่อพิมพ์ครั้งแรก)
1. การสลายตัวของราชอาณาจักรอยุธยา
-
ระบบป้องกันตนเอง
-
สงคราม พ.ศ. 2307-2310
-
ระบบที่ไม่ทำงานของราชอาณาจักรอยุธยา
-
สภาพจลาจ
2.
การรื้อฟื้นราชอาณาจักรอยุธยาด้วยการเมืองแบบชุมนุม (พ.ศ. 2309-2314)
-
พระราชประวัติก่อนเสวยราชย์
- ประสูตรเมื่อไหร่? ที่ไหน?
-
"ลูกไทย" หรือ "ลูกจีน"
-
พระญาติพระวงศ์พระเจ้ากรุงธนบุรี
-
สัญลักษณ์ "งู" และเจ้าพระยาจักรี
-
ถิ่นกำเนิดอยู่ที่ไหน
-
พระนามเดิมว่า "สิน"
-
พ่อค้าเกวียนแห่งเมืองตาก
-
วิ่งเต้นเป็น "เจ้าเมือง"
-
ฐานะเมืองตาก "รัฐชายขอบ"
-
ความผูกพันกับเมืองตาก
-
ไม่เคนเป็นเจ้าเมืองกำแพงเพชร
-
พระเจ้าตากไม่ใช่ "ผู้ดีกรุงเก่า"
-
ชุมชนจีนในอยุธยาเป็นกำลังทางการเมืองได้เพียงใด
-
การรื้อฟื้นพระราชอาณาจักรอยุธยา
-
นโยบายทางการเมืองชัดเจนกว่ากลุ่มอื่นๆ
-
"รัฐบาลธรรมชาติ" ที่ชายทะเลตะวันออก
-
เมืองธนบุรีและค่ายโพธิ์สามต้น
-
ยุทธศาสตร์และการเมือที่ธนบุรี
-
ปราบชุมนุมระบบขุนนางที่พิษณุโลก
-
ชุนนุมเจ้าพิมาย ความหมายทางการเมือง
-
นครศรีธรรมราช ศาสนจักรและอาณาจักร
-
เจ้าพระฝาง พวก "นอกรีต"
-
พระเจ้าตากกับจักรพรรดิจีน
-
"เนื้อหา" และ "รูปแบบ" ของ "อยุธยา"
3.
ราชอาณาจักรอยุธยาในการเมืองแบบชุมนุม (พ.ศ. 2310-2317)
-
พระมหากษัตริย์ในการเมืองแบบชุมนุม
-
เน้นลักษณะ "บุคคล" มากกว่า "สถาบัน"
-
สำแดงความเป็น "ประมุข" ของคณะสงฆ์
-
ขุนนางและลูกน้อง
-
เจ้าพระยาจักรี ศูนย์กลาง "ขุนนางเก่า"
-
ปัญหาทางการเมือง: การคุมกำลังคน
-
การปกครองหัวเมืองภาคใต้
-
การปกครองหัวเมืองเหนือ
-
สรุป
4.
การสลายตัวของการเมืองแบบชุมนุม
-
ศึกอะแซหวุนกี้และผลกระทบต่อการเมืองภายใจ
-
"สัญญาวิปลาส" หรือการเมืองไทย
-
ขอลุกสาวพระเจ้ากรุงจีน
-
เศรษฐกิยตึงเครียด พ่อค้าจีนเดือดร้อน
-
ความ "ดุร้าย" เพราะขาดความมั่นคง
-
การรวมกลุ่มของเจ้าพระยาจักรี
-
ความเป็นญาติ
-
ความเกี่ยวดอง
-
การฝากตัว
-
การเมืองของกลุ่มมอญ
-
ความขัดแย้ง
-
อวสานของการเมืองแบบชุมนุม
บทส่งท้าย
การอ้างอิง
ภาคผนวก
ดรรชนี