เครื่องทองอยุธยา
เจ้าสามพระยา และโลกาภิวัตน์แรกในสยาม
.
ศิลปวัฒนธรรม ฉบับเดือนเมษายน 2566 ชวนย้อนกลับไปดู “เครื่องทองสมัยอยุธยา” ตั้งแต่เส้นทางทองคำอยุธยามาจากไหน ตลาดค้าทองกรุงศรีฯ อยู่ที่ใด เครื่องทองที่เก็บ-จัดแสดงที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา สะท้อนภาพความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับโลกภายนอกอย่างไร
.
พร้อมบทความน่าสนใจอื่น
๑๐ ตามรอย “ระเด่นลันได” / ธนโชติ เกียรติณภัทร
๒๒ ขาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ /พริษฐ์ ชิวารักษ์
๒๙ แผนล้อมกวาง งานเย็บปักถักร้อย / พลเอก บัญชร ชวาลศิลป์
๓๖ เพลง ทพนองพื้นเมือง / บูรพา อารัมภีร
๔๑ ศรคิรี ศรีประจวบ เล่นแครื่องรางของขลัง ลงอักชระสักสาลิกาลิ้นทองที่ลิ้นและฟัน / บุญเลิศ คชายุทธเดช (ช้างใหญ่)
๔๘ วัดศรีโพธิ์ (สีโพ) ค่ายพม่าที่กระสุนปืนใหญ่โด่งข้ามไป / อชิรวิชญ์ อันธพันธ์
๖๐ เครื่องทองอยุธยา เจ้าสามพระยา และโลกาภิวัตน์แรกในสยาม-อุษาคเนย์ / กำพล จำปาพันธ์
๘๔ เรื่องเล่า “กษัตริย์ผู้ทรงประกาศอิสรภาพ กับอริราชครู (ใหม่) นาม “คอมมิวนิสต์” / ปิยวัฒน์ สีแดงสุก
๑๐๔ โปสการ์ดรัชกาลที่ ๕ และไกด์บุ๊กบางกอกฝีมือ J. Antonio / ไกรฤกษ์ นานา
๑๑๘ วันขึ้นปีใหม่ วันมหาสงกรานต์ และวันตรุษของไทย / รศ.นพ.จิรวัฒน์ อุตตมะกุล