ทดลองอ่าน: https://bit.ly/3UQIZZT
ทุกครั้งที่ไปไหว้เจ้า เคยสังเกตกันหรือไม่ว่า เทพเจ้าที่ประดิษฐานในศาลมีลักษณะอย่างไร ชื่อของศาลเจ้าหมายถึงใคร หรือสงสัยหรือไม่ว่าใครเป็นผู้สร้าง
การอพยพตั้งหลักปักฐานของคนจีนในกรุงเทพฯ ได้นำพาวัฒนธรรมและความเชื่อจากบ้านเกิดตนมาด้วย โดยเฉพาะลัทธิขงจื่อ ศาสนาเต้า และพุทธศาสนา ดังเห็นได้จากเทพเจ้าจีนที่ประดิษฐานอยู่ในศาลเจ้าทั่วกรุงเทพฯ ซึ่งมีรูปแบบศิลปกรรม และประติมากรรมประธานแตกต่างไปตามวัฒนธรรมของ 5 กลุ่มภาษา คือ แต้จิ๋ว ฮกเกี้ยน แคะ ไหหลำ และกวางตุ้ง กระทั่งเมื่อเวลาผ่านไป ความเชื่อของคนจีนก็ได้หลอมรวมกับความเชื่อไทย จนกลายเป็นการผสมผสานระหว่างไทย-จีน กลายเป็นรูปแบบประติมากรรมเทพเจ้าจี ในกรุงเทพฯ อันมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
เทพเจ้าจีน ในกรุงเทพฯ ผลงานของ ผศ. ดร. อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช ขออาสาพาผู้อ่าน สำรวจร่องรอยความเชื่อชาวจีน อ่านรูปแบบประติมากรรมเทพเจ้าจีน จากศาลเจ้าทั่วกรุงเทพฯ เพื่อไขข้อสงสัยหรือเพิ่มมุมมองความเข้าใจต่อชาวจีนในประเทศไทยให้หลากด้านยิ่งขึ้น
๑ บทนำ
๒ ความเชื่อของชาวจีนอพยพในกรุงเทพฯ
พื้นฐานความเชื่อของชาวจีนในดินแดนจีน
ลัทธิขงจื่อ
ศาสนาเต้า
พุทธศาสนา
การผสมผสานความเชื่อ
หลักฐานความเชื่อของชาวจีนในกรุงเทพฯ
ลัทธิขงจื่อของชาวจีนในกรุงเทพฯ
ศาสนาเต้าของชาวจีนในกรุงเทพฯ
พุทธศาสนาของชาวจีนในกรุงเทพฯ
การผสมผสานความเชื่อของชาวจีนในกรุงเทพฯ
สรุป
๓ รูปแบบประติมากรรมเทพเจ้าประธานในศาลเจ้าจีน กรุงเทพฯ
ปัญหาในการศึกษารูปแบบประติมากรรมเทพเจ้าในศาลเจ้าจีน กรุงเทพฯ
พัฒนาการของประติมากรรมประธาน:
ขนาดและวัสดุ
ขนาดและวัสดุ
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการ
รูปแบบประติมากรรม
รูปแบบที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาวจีนแต่ละกลุ่มภาษา
รูปแบบประติมากรรมที่แสดงความสัมพันธ์กับศิลปะไทย
ปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบของประติมากรรมในศาลเจ้าจีนกรุงเทพฯ
ศิราภรณ์และเครื่องทรงเทพเจ้าที่แสดงความสัมพันธ์กับศิลปะจีน
เทพเจ้าบุรุษ
เทพเจ้าสตรี
สรุป
๔ เอกลักษณ์ความเชื่อของชาวจีนอพยพในกรุงเทพฯที่สะท้อนผ่านเทพเจ้าประธาน
การบูชาเทพเจ้าที่สัมพันธ์กับความเชื่อแต่ละกลุ่มภาษา
ชาวจีนแต้จิ๋ว
ชาวจีนฮกเกี้ยน
ชาวจีนไหหลำ
ชาวจีนแคะ
ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าจีนที่ปรับเปลี่ยน
เทพเจ้าเปิ่นโถวกงและพระภูมิแบบไทย
เสวียนเทียนซั่งตี้และนาม “เจ้าพ่อเสือ”
การสถาปนาเทพเจ้าประธาน:พัฒนาการและค่านิยมที่เปลี่ยนแปลง
สรุป
๕ บทสรุป
บรรณานุกรม ๒๔๔
ภาคผนวก: รายชื่อศาลเจ้า ๑๒๙ แห่งโดยจัดกลุ่มตามเทพเจ้าประธาน