ตะกร้าสินค้า

คุณสามารถปรับเปลี่ยนจำนวนสินค้าจากรายการด้านล่างได้

สินค้า ราคา จำนวน ราคารวม
ไม่มีรายการสินค้าที่เลือกไว้

ISBN9786169399483
ปกหนังสืออ่อน
กระดาษถนอมสายตา
จำนวนหน้า330 หน้า
น้ำหนัก650.00 กรัม
กว้าง16.50 ซม.
สูง24.00 ซม.
หนา2.50 ซม.
พิมพ์ครั้งที่1 : กรกฏาคม 2566
สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน

เจ้าชีวิต เจ้าสรรพสิ่ง (ปกอ่อน)

ผู้เขียน : เมาริตซิโอ เปเลจจี


หนังสือเล่มนี้นำเสนอการก่อร่างสร้างภาพลักษณ์สมัยใหม่ของรัชกาลที่ 5 เพื่อหักล้างความคิดแบบกษัตริย์นิยมที่ถ่วงค้ำการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมาเนิ่นนานว่ารัชกาลที่ 5 คือปิยมหาราชผู้พลิกโฉมสยามประเทศให้ทันสมัยโดยละลืมปัจจัยและบริบทของการเข้าสู่ภาวะสมัยใหม่ของไทย ผู้เขียนวิเคราะห์ผ่านหลักฐานชั้นต้นทั้งที่เป็นจดหมายเหตุ บันทึกความทรงจำ และจดหมายโต้ตอบระหว่างรัชกาลที่ 5 กับชนชั้นนำราชสำนักและชาวต่างประเทศ โดยหยิบยกการนำเสนอตัวตนของชนชั้นนำสยามผ่านการปรับเปลี่ยนวิถีบริโภคในราชสำนัก เช่น การแต่งกาย การสะสมข้าวของ การถ่ายรูป ฯลฯ ผ่านการสถาปนาพื้นที่แห่งความศิวิไลซ์ ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างสวนดุสิต ลานพระบรมรูปทรงม้า ฯลฯ และผ่านการจัดแสดงมหรสพสาธารณะ อย่างพระราชพิธีตระการตาและการเข้าร่วมงานนิทรรศการโลก เป็นต้น เพื่อชี้ให้เห็นว่ารัชกาลที่ 5 ไม่เพียงไล่ตามความศิวิไลซ์แบบโลกตะวันตก ดังที่หนังสือเล่มนี้ตั้งฉายานามว่า “เจ้าแห่งสรรพสิ่ง” เท่านั้น หากทั้งหมดนี้ยังเกิดขึ้นพร้อมกับการสถาปนาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในแผ่นดินสยามด้วย



บทนำ สถาบันกษัตริย์กับสภาวะสมัยใหม่

ตอนที่ 1 วิถีปฏิบัติ

บทที่ 1 วิถีการบริโภค รสนิยม และอัตลักษณ์ของชนชั้นนำสยามที่ปรับเปลี่ยนให้เป็นแบบสมัยใหม่

บทที่ 2 การนำเสนอและภาพแทนตัวตนของชนชั้นนำราชสำนัก

ตอนที่ 2 พื้นที่

บทที่ 3 สนามละเล่นชานเมือง

บทที่ 4 สนามแห่งความเรืองโรจน์

ตอนที่ 3 มหรสพ

บทที่ 5 การปรับรูปโฉมนาฏกรรมแห่งอำนาจ

บทที่ 6 บนเวทีโลก

บทส่งท้าย : สถาบันกษัตริย์กับความทรงจ